"Piping Flexibility Is One Of The Most Important,Least Understand Function Of Piping Design"
Basic Piping Stress
Static
Pipe Racks
Pipe Support
Jacket Pipe
Seismic
Dynamic
การใช้ PD_Stress
Critical Line

1. min. pipe wall thickness
2. max. pipe span
3. buckling forces jacket pipe
4. turbulent flow check
5. flange leakage
6. branch reinforcement
7. Min. Leg Require
8. Cantilever Beam
9. Trunnion Loading Check
10. NEMA SM-23 Check
11. Pipe Table

Reference Data 1. Pipe wall schedule
2. Pipe span table
3. Guide span
4. Vendor List

Reference Data 1. Web Board
2. Guest Book
3. Comment and Suggestion
4. Piping Staff
5. Link

6.Small CV Online

 BASIC PIPE STRESS และการใช้โปรแกรม CAESAR II

พื้นฐานการทำ Pipe Stress Analysis
   โดยพื้นฐานเลยก็คือ การออกแบบระบบท่อให้มีความยืดหยุ่น (flexibility) โดยใช้จำนวนข้อต่อ (fitting) ให้น้อยที่สุด เพื่อความประหยัด และ ลด pressure drop ที่เกิดขึ้นให้น้อยที่สุด

   ระบบท่อที่ร้อน จะเกิดการยืดขยายตัว ส่วนระบบท่อที่เย็นจะเกิดการหดตัว ทั้งสองระบบนั้นจะทำให้เกิดปัญหาความเค้น (stress) ในท่อได้ทั้งนั้น ถ้าความเค้นอยู่ในขอบเขตจำกัดของความแข็งแรงวัสดุ ระบบท่อก็จะไม่พังเสียหาย แต่แค่นี้ยังไม่เพียงพอในการ วิเคราะห์ ปัญหา stress เราจะวิเคราะห์หลายๆ อย่าง และ สามารถ ควบคุมระบบท่อให้เป็นไปตามที่เราต้องการอีกด้วย เ ช่นควบคุมการขยายตัว ของท่อไม่ให้มากเกินไป การควบคุม แรง โมเมนต์ อย่างนี้เป็นต้น

    การคำนวณหา แรง และ โมเมนต์ เราจะพิจารณาเฉพาะส่วนสำคัญๆ เช่น จุด Anchor Point ในที่นี้ได้แก่ line stop หรือว่าจะเป็น nozzle ของ equipment ก็ได ้

    เรานำค่าแรง และ โมเมนต์ที่ได้นี้มาเปรียบเทียบกับค่า Allowable Forces และ Moments โดยที่ค่าแรงและโมเมนต์ที่ เราคำนวณได้นั้นจะต้องไม่เกินค่า Allowable ไม่เช่นนั้นจะทำให้อุปกรณ์พังเสียหายได้ โดยเราสามารถทราบค่า Allowable Load ได้จาก โรงงาน ผู้ผลิตอุปกรณ์นั้นๆ หรือได้จาก CODE ที่ใช้กับอุปกรณ์นั้นๆ ยกตัวอย่าง CODE ที่ใช้กับอุปกรณ์ต่างๆ ดังข้างล่างนี้
   - Pump ใช้ CODE API610
   - Steam Turbine ใช้ CODE NEMA SM23
   - Tank ขนาดใหญ่ ใช้ CODE API650

ซึ่งแต่ละ Project ก็กำหนดให้ใช้ Code แตกต่างกันไปได้ โดยทั่วไปในงาน ออกแบบ โรงงาน Petrochemical และ Refinery plant ก็มักจะเลือก ใช้ Code ที่ผมกล่าวมาข้างบนนั่นแหละครับ

 BASIC STRESS QUANTITIES

ก่อนที่เราจะเริ่มทำการวิเคราะห์ Pipe Stress ให้เราทำความเข้าใจกับปริมาณ stress พื้นฐาน ต่อไปนี้ก่อนนะครับ

ขออภัย ขอนำเสนอต่อในภายหลัง แต่ท่านสามารถติดตามอ่านต่อได้โดยที่ผมได้ ทำไว้ในรูปแบบ file pdf   CLICK HERE


Copyright? 2000 pipingengineer.com All rights reserved webmaster@pipingengineer.com ( icq no. 2078459 )

since 9 Jan 2000 , Last Update 26 Jan 2001