Basic Pipe Stress
Static
Pipe Racks
Seismic
Pipe Support
Jacket Pipe
การใช้ PD_Stress
Critical Line
1. min. pipe wall thickness
2. max. pipe span
3. buckling forces jacket pipe
4. turbulent flow check
5. flange leakage
6. branch reinforcement
7. Min. Leg Require
8. Cantilever Beam
9. Trunnion Loading Check
10. NEMA SM-23 Check
1. pipe wall schedule
2. pipe span table
3. Guide span
4. Vendor List
1. Web Board
2. Guest Book
3. Comment and Suggestion
4. Piping Staff
 |
 |
Dynamic Effect
เราควรจะ วิเคราะห์ปัญหา ทางด้าน dynamic ของระบบท่อ ก็ต่อเมื่อมีสิ่งต่อไปนี้เกิดขึ้น
1. Impace คือการที่มีแรงกระแทกจาก ภายนอก หรือจากภายใน มากระทำ เช่น การเปลี่ยนแปลง ของอัตราการไหล , hydralic shock,
liquid หรือ solid slugging , flashing เป็นต้น
2. Wind การวิเคราะห์ก็อาจจะใช้ UBC CODE หรือ ASCE SECTION 7-88 ก็ได้
3. Earthquake เช่นเดียวกับ Wind effect นะครับ ก็ใช้ CODE เดียวกันในการวิเคราะห์
4. Vibration การสั่นสะเทือนจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีแหล่งกำเนิดทำให้เกิด impact , pressure pulsation , resonance
ใน reciprocating compressor เป็นต้น การแก้ปัญหาก็ทำโดย re-route ใหม่ , design support ดีๆ spring ห้ามใส่โดยเด็ดขาดเพราะว่า
spring support จะไปทำให้ระบบสั่นยิ่งขึ้น อย่าไปคิดว่า spring จะไปช่วยผ่อนแรงสั่นสะเทือนนะครับ อันนั้นเป็นสิ่งที่ piping stress
engineer หลายท่าน ยัง mistake กันอยู่
5. Discharge Reaction เช่นพวก Relief Valve การแก้ปัญหา ก็คือใส่ support ให้ถูกเพื่อ ต้านแรงปฏิกิริยา ไว้เนื่องจาก let-down หรือ discharge ของ
fluids.
ถ้าเกิดไม่มีแหล่งที่เป็นต้นเหตุให้เกิดการสั่นสะเทือน เราก็จะไม่จำเป็นที่จะต้องทำ dynamic analysis เพราะตัวท่อนั้นไม่สามารถ สั่นสะเทือนได้โดยตัวมันเองอยู่แล้ว ทีนี้เราก็บอกได้แล้วว่าเมื่อไรเราจะทำ dynamic analysis
การวิเคราะห์และแก้ปัญหา dynamic effect ก็แตกต่างกันไปตาม ต้นเหตุที่ทำให้มันเกิดการสั่นสะเทือน
เช่น ระบบท่อที่ต่อเข้ากับ reciprocating compressor จะใช้วิธีวิเคราะห์ ต่างจาก line ที่ต่อเข้ากับ lelief valve เรามาดูกันว่า มีกี่วิธีที่ใช้ใน
การวิเคราะห์
ขออภัย ที่ยังทำไม่เสร็จ
|